ตั้งค่าบทความหน้าแรกในเมนูโมดูลตำแหน่งPosition7ให้joomla3x

Ads-bygoogle

การสร้างเมนูในตำแหน่ง position7 สามารถแก้ไขและตั้งค่าการแสดงผลได้หลายๆแบบคล้ายๆกันกับการสร้างเมนูหลักในตำแหน่งPosition1และจะเรียงต่อๆกันไป

มนูหน้าแรก หรือ กลุ่มเมนู Mainmenu
ตั้งค่าแสดงผล บนหน้าเว็บไชต์ จูมล่า แบบ บทความเดี่ยวหรือแบบบล็อกเหมาะสำหรับ ทำบทความไว้ต้อนรับหน้าเว็บ และจะเรียงเมนูทั้งหมดเป็นแบบแนวนอนตามความกว้างของหน้าเว็บไชต์ กำหนดและ FIX มาให้ก่อนแล้ว อาจตั้งค่าให้ใส่หน่วยเป็น100 % ก็ทำได้ จูมล่ามีความยืดหย่นมากเมือยืดหยุ่นมากมันก็จะซับซ้อน
การทำเมนูโดยใช้หมวดหมู่บทความ เป็นเมนูเรียงเป็นแนวตั้งในโมดูลตำแหน่ง position7  หรือทางด้านขวาของเว็บไชต์ จูมล่า จะต้องมีการสร้างกลุ่มเมนูขึ้นใหม่ เพื่อแยกกันให้ขาดใน Mainmenu หลัก เพื่อนำหมวดหมู่เป็นเมนู ลิงก์ ปุ่มคลิกอ่านบทความ แต่ไม่สามารถแสดงบทความบนหน้าแรกของเว็บไชต์ได้ หากตั้งค่าทุกบทความ ให้เป็นเนื้อหาเด่นบทความจะถูกแสดงผลบนหน้าแรกของเว็บไชต์ และกำหนดหมวดหมู่ตั้งค่าให้เป็น แบบบล็อก จะได้หน้าแรกประจำเว็บเว็บไชต์ เหมือน www.moneyvariety.com ประมาณนี้

โมดูล ในตำแหน่ง position7 และโมดูลอื่นๆ
กำหนดความกว้างจำกัดพื้นที่ เป็นโมดูลที่ต้องแก้ไข เพราะกำหนดความกว้างไมได้สัดส่วนเท่าที่ควร โดยเฉพาะ เทมเพลตprotostar joomla3x แสดงผลหน้าเว็บบนโทรศัพย์รุ่นใหม่ๆในปัจุบัน ทุกโมดูลที่สร้างขึ้นใหม่ เมื่อแก้ไข css จะแสดงเหมือนกันหมดเพราะ ความกว้างจะมากขึ้นและเหมาะสม

 เมื่อเปิดเว็บไชต์ของเราผ่านมือถือ หรือ คอมพิวเตอร์PC จะได้ขนาดเท่าเดิม ข้อมุลครบ หากใส่ หน่วยโฆษณา Adsense โมดูลจะสามารถคุมไม่ให้ เกิดความเยื้องไม่ล้นไปทางไหน จะได้สัดส่วนที่สมบรูณ์ที่สุด หากคุณเปิดการใช้งาน Fluid Layout ในเทมเพลต protostar

Ads-bygoogle

เปลี่ยน Titlebar ของ joomla3x ช่วยเพิ่มพลัง SEO

Ads-bygoogle

ถ้าใครเคยใช้ joomla มาก่อนและเมื่อเราติดตั้งเสร็จ จะพบ ข้อความ Welcome to the Frontpage หรือ Home ซึ่งเป็นข้อความที่เราไม่ควรนำมาใช้ และไม่เป็นผลดีต่อการทำ SEO
บทความสอน วิธีการ ตั้งค่าเปลี่ยนข้อความต้อนรับ Titelbar บน joomla3x หรือ joomla รุ่นเก่าๆจะใช้วิธีการเดียวกัน เปลี่ยนชื่อ ให้แบบที่คุณต้องการ ซึ่งจะมีวิธีการทำง่ายๆดังต่อไปนี้
1.เข้าสู่ผู้ดูแลระบบ joomla Administrator โดยพิมพ์ ชื่อเว็บไชต์ของเราเช่น www.xxx/Administrator
2.ใส่รหัสผ่านผู้ดูแลระบบ คลิก Enter >> คลิก>>เมนู>>เลื่อนแท็ปหา MainMenu คลิก จะพาเข้าสู้หน้าจอถัดไป
3.รายการเมนูระบบ เมนูหลักๆของ joomla ซึ่งผู้เขียนเปลี่ยน ชื่อ home เป็นหน้าแรก ให้คลิก>>เมนูหน้าแรกเพื่อเข้าไปปรับแต่งในเมนูนี้

4.คลิก>>ปุ่มบันทึกปิดแล้วดูผลงาน 
คำแนะนำ วิธีการ เขียนคำบรรยายเว็บไชต์ บนแท็บ titelbar เขียนให้ตรงกับเว็บไชต์ของเรา ว่าทำเว็บไชต์เกี่ยวกับอะไร และต้องบอกอะไรให้ google เข้าใจ เพราะอาจจะเป็นทางเข้าทางแรกที่ search engine จะเข้าข้อมูลในเว็บไชต์เรา แล้วเริมเก็บข้อมูลทั่วทั้งเว็บไชต์

Ads-bygoogle

จัดบทความอย่างไรให้สวยงามและน่าอ่านในเว็บไชต์ joomla3.7

Ads-bygoogle

วิธีการนำบทความมาแสดงผลในหน้าเว็บไชต์ของ joomla3.7 มีสองแบบด้วยกันและนิยมทำกันอย่างที่สุด คือ ใช้ชื่อบทความแต่ละบท มาเป็นลิงก์เมนู แล้วคลิกเปิดอ่านเนื้อหาภายใน ส่วนแบบที่สอง มีคลาสสิคขึ้นหน่อย ใช้ภาพแทรกเข้ามา ร่วมกับเนื้อหาทุกๆบทความ เพื่อให้เกิด มโนภาพ มีความสมบรูณ์ ตรงกับความต้องการสำหรับคนอ่าน ภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญที่สุด สามารถที่จะสือความหมายอะไรๆได้หลายๆอย่าง
ตัวอย่าง การส่งบทความ ออกทางด้านหน้าเว็บไชต์ Joomla3.7 เทมเพลต Protostar แม่แบบมาตรฐาน ยอดนิยม หน้าตาจะเน้นความเรียบง่าย สะอาดตา เหมาะสำหรับ นำเสนอข้อมูลเนื้อหา ไม่เน้นนำหนักทางด้านหรูหรา หน้าตาไม่สวยงาม แต่ก็นิยมใช้กัน เพราะใช้งานง่ายนั่นเอง
บทความ สอนวิธีการ ตั้งค่า การส่งออกบทความ ทางด้านหน้าเว็บไชต์ joomla3.7 และรุ่นย่อยๆ joomla3x จะใช้วิธีเดียวกัน ตั้งค่าในเมนูนั้นๆเพียงครั้งเดียวจะไช้ได้ตลอดไป
คลิก เข้าสู่ผู้ดูแล ผู้ดูแลระบบ joomla ของเรา Administrator
1.คลิก>>เมนู>>คลิก>>Mainmenu จะเข้าสู่หน้าจอถัดไป
2.คลิก>>เมนู หน้าแรก:ผู้เขียนเปลี่ยนชือไว้ก่อนแล้ว ตั้งค่าเมนู ชนิดนี้ให้เป็น เมนูหมวดหมู่บทความแบบบล๋อก เพื่อจะแทรกภาพและคำบรรยายไว้ด้วยกัน  สำหรับเนื้อหาตัวอย่างบทความ ผู้เขียนได้ก๊อบบทความตัวอย่าง ซ้ำกัน 10บท แล้วทำการแบ่งหน้าบทความหลังเนื้อหา สัก2 บรรทัด และจะแทรกภาพในภายหลัง ตอนนี้เอาเท่านี้ก่อน

3.คลิก>>เมนู แท็ปนำทางสำหรับ เมนูหน้าแรก เพื่อ Control เมนูนี้ คลิก>>เมนูตั้งค่ารูปแบบบล็อก สามารถทำตามภาพตัวอย่างได้เช่นกัน
#บทความนำ: ตั้งค่่าส่งบทความออกหน้าเว็บไชต์ 1 บทความ แสดงบทความตัวอย่างที่1สามารถใส่คำอธิบายเว็บไชต์ของเราเป็นบทความหน้าแรกไว้ต้อนรับใส่ภาพประกอบบทความ ยึดเป็นบทความหน้าเว็บของเราได้ โดยปิด/เปิด ปุ่มอ่านเพิม แสดงเป็นบทความเดี่ยว ข้อนี้แนะนำ
#เนื้อหารอง: ตั้งค่าส่งบทความ 4 บทความ ออกทางหน้าเว็บไชต์ แสดงแบบ บล็อก มีปุ่มอ่านเพิ่มทุกๆบทความ เพื่อจัดหน้าเว็บไชต์ของเราให้ ดุดีและน่าอ่าน หรือ อาจจะปรับแต่งบางบทความใช้ภาพ เป็นลิงค์เชื่อมโยงบทความ โดยการปิดปุ่ม อ่านเพิ่ม.. ก็ทำได้ดีเช่นกัน 
#คอลัมน์: ตั้งค่าส่งบทความ ออกทางหน้าเว็บไชต์ 2 แถว หรือ 3แถว ในหนึ่งหน้าเว็บ
#ลิงก์: ตั้งค่าส่งบทความ 3 บทความ แบบเมนูลิงค์ สามารถจะใช้บทความอื่นๆแทรกเข้ามา แสดงเป็นบทความที่ใกล้เคียง 
4.คลิกปุ่มบันทึกปิด แล้วดูผลงาน
Ads-bygoogle