Joomla! 3.7 Stable Release มีอะไรใหม่ให้น่าลอง

Ads-bygoogle

Joomla! 3.7 รุ่นเสถียรจะปล่อยออกมา ให้ใช้งานจริง ในเดือน มีนาคม 2560 ซึ่งจะมีความสามารถหลายๆด้าน และจะมีผลกระทบอย่างมาก ในการสนับสนุน PHP7

หลายคนบอกว่า การทำเว็บไชต์ ไม่จำเป็นต้องอัพเดตตาม เวอร์ชัน ให้ทันสมัย ซึ่งอาจไม่ตรงกับความจริงมากนัก เพราะการทำเว็บไชต์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ออกแบบมาโดยโปรแกรมเมอร์ พัฒนาเว็บไชต์ อย่างต่อเนื่อง ผู้ใช้งาน จุมลาทั่วไป สามารถที่จะเลือก เวอร์ชัน ให้ตรงกับความต้องการ โฮทติ้ง โดยเน้นย้ำ PHP เพื่อให้เหมาะสมกัน แต่ข้อเสีย จะไมได้ Features รุ่นใหม่สนันสนุน ก็จะใช้งานได้รุ่่นเก่านั่นเอง

มีอะไรใหม่ น่าลอง ในjoomla3.7
ทีมงานพัฒนา ได้นำ Joomla 3.5 เปรียบเทียบ Joomla 3.7 ซีงใช้ PHP7 ช่วยให้การปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น โดยจะมี 6  Features New  in Joomla 3.7 Stable Release
1. เพิ่มฟิลด์แบบกำหนดเอง Custom fields โปรไฟล์ผู้ใช้และข้อมูลการติดต่อเมื่อเพิ่มบทความคุณจะเห็นแท็บใหม่สองแท็บด้านซ้าย: ฟิลด์และฟิลด์หมวดหมู่
สำหรับฟิลด์เหล่านี้ใช้ส่วนขยายของ Joomla ที่เรียกว่า DPFields มีตัวเลือกฟิลด์ที่แตกต่างกันมากกว่า 20 ฟิลด์ที่มีอยู่ใน DPField เช่น 1.Calendar 2.Captcha 3.Checkboxes 4.Color5.Editor6.Email 7.Image
8.Integer 9.List 10.Media 11.Article 12.Radio buttons 13.SQL 14.Telephone 15.Text 16.Textarea
17.Timezone 18.URL 19.User 20.Usergroup 21.Yes or No

2. A flat re-design for the admin area การออกแบบใหม่ สำหรับพื้นที่ผู้ดูแลระบบ การปรับเทมเพลตผู้ดูแลระบบให้ทันสมัยขึ้นเรียบง่าย การใช้งานก็ดีไปด้วย

3. เข้าสู่ระบบ Facebook ล็อกอิน joomla
เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าสู่ผู้ดูแลระบบ Joomla ด้วยบัญชี Facebook  มีเวอร์ชัน GMail อยู่แล้วในแกนหลักของ Joomla3.7 เพื่อให้การล็อกอิน Facebook ทำงาน เป็นประโยชน์อีกอย่างหนึ่ง: ปลั๊กอินการรับรองความถูกต้องสามารถเพิ่มฟิลด์ของตัวเองลงในหน้าจอเข้าสู่ระบบของ Joomla
4. กำหนดค่าคุณลักษณะ TinyMCE เครื่องมือช่วยเขียนบทความ
คุณลักษณะนี้จะช่วยให้คุณสามารถกำหนดค่าตัวแก้ไขเริ่มต้นและสามารถเปิดโปรแกรมแก้ไข TinyMCE plugin และเพิ่มย้ายหรือลบปุ่มได้ 
5. เพิ่มบทความที่มีปุ่มลิงค์เมนู
ขั้นตอนนี้จะลบขั้นตอนหลายขั้นตอนออกจากกระบวนการสร้างไซต์ Joomla คุณจะสามารถสร้างบทความได้ในขณะที่คุณเพิ่มลิงก์เมนู 
6. เพิ่มรูปแบบตัวเลือกวันที่และเวลาใหม่
เทคนิคช่วยในการ ตั้งค่าเวลาและวันที่  ในรายการนี้เพิ่มความสะดวกในการค้นหาบทความ หรือตั้งต่าเวลาล่วงหน้าในการเผยแพร่บทความ กำหนดการทำงานโมดูลได้หลายๆอย่าง
Ads-bygoogle

วิธีการชี้ Name Server ไปยัง ผู้ให้บริการโฮสติ้งรายใหม่

Ads-bygoogle

Name Server เปรียบเสมือน ที่อยู่ ของโดเมนประจำเว็บไชต์เราบน Web Hosting ซึง จะทำหน้าที่ แปล ชื่อ Url เป็น เลข IP เพื่อที่จะได้ทราบว่า ที่อยู่ Url นั้น อยู่ ที่ Server ใด

ซึ่งสามารถทำได้ด้วย name server เพียงอันเดียว  Domain​ Name   จึงจำเป็น  ต้องมีการ NS  เพื่อทำงานและ เรียกดูเว็บไซต์  ปัจจจุบัน กำหนดให้แต่ละโดเมนมีอย่างน้อย 2 name server (NS)

บทความ สอนวิธีการ การชี้ Name Server เพื่อใช้บริการ Web Hosting รายใหม่ หลังจากทำการย้ายไฟล์เว็บไชต์ไปบนโฮสติ้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว

ล็อคอิน เข้าสู่เว็บไชต์ ของผู้ให้บริการ Web Hosting เจ้าเก่า
คลิก เมนูโดเมนของฉัน คลิก ในเลือกรายชื่อโดเมน ทางขวา จากนั้นจะเข้าสู่หน้าจอถัดไป

Nameserver 1: ns
Nameserver 2:ns
กรอก ชื่อ name server ผู้ให้บริการเช่าพื้นที่ทำเว็บไชต์ โฮสติ้งใหม่ ซึ่งจะแจ้งข้อมูล การตั้งค้า FTP การใช้งาน และ ข้อมูล Nameserver เมล์มาบอกเรา แล้วตั้งค่าตามนั้น คลิก บันทึก เสร็จสิ้น
Ads-bygoogle

วิธีการย้ายโฮสติ้งเดิมไปยังโฮสติ้งใหม่ แบบ zipfiles ยกก้อน

Ads-bygoogle

เว็บไชต์ที่สร้างด้วย Joomla เบอร์3 เป็นต้นไป ปัจจุบัน กำลังปรับรุ่นเป็นรุ่นล่าสุด 3.7x  และพัฒนาปรับรุ่นแยกย่อยๆเป็น Joomla เบอร์ 4x  ในอนาคตอย่างแนนอน สำหรับผู้ใช้งาน ต้องเตรียมความพร้อมในเรื่องของ การย้ายโฮส

โฮสติ้ง ในไทย มีข้อจำกัดทางด้านคุณภาพ เพราะส่วนใหญ่เป็นโฮสรุ่นเก่าเวอร์ช่ั่น PHP 5.3 ซึ่งเหมาะกับการใช้ joomla 1.5/3 ส่วนเสริมสำหรับ joomla รุ่นใหม่จะใช้งานได้ แต่ไมดีเท่าที่ควร ฉนั้นการมองหาโฮสดีๆและมีคุณภาพ ราคาสบายกระเป๋า เวอร์ชั่นจะเริ่มต้นตั้งแต่ PHP  5.6/7.1 จะเป็นการดีที่อย่างแน่นอน

บทความ สอนวิธีการ ย้ายโฮส  joomla แบบ zipfiles ยกก้อน ไปยังโฮสติ้งใหม่ โดเมนเดิม
domain name หรือ ชื่อเว็บไชต์ มือใหม่ทำเว็บไชต์มักจะจดชื่อ domain คู่กันกับโฮสติ้งที่เดียวกัน เพราะสะดวกในการบริหารจัดการ domain name จึง Fix ตายตัวไม่ต้องย้ายไปโฮสใหม่ก็จะทำได้ง่าย เพราะการย้ายโดเมน จะต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มไปด้วย การแก้ไขให้ย้ายไฟล์เว็บไชต์อย่างเดียว ส่วน name seraver name เป็นขั้นตอนสุดท้ายในการตั้งค่าให้ชี้ไปที่โฮสใหม่ ซึ่งจะมีขั้นตอนดังนี้

1.ดาวน์โหลด ไฟล์เว็บไชต์ ทั้งหมดบนโฮทเดิม ด้วย FTP มีกี่พันกี่หมื่นไฟล์ ก็โหลดให้ครบ กรณีนี้ใช้เวลาค่อนข้างนาน อาจจะติดปัญหาเรื่อง ความเร็วเน็ต ระบบไฟฟ้าขัดข้องฯลฯ ก็จะไม่แนะนำ

2.ทำการ zip file บนโฮทเดิมด้วย DirectAdmin แล้วดาวน์โหลดไฟล์เว็บไชต์ จะได้ไฟล์เว็บไชต์ที่สมบรูณ์ที่สุดและรวดเร็ว กรณีนี้จะได้ไฟล์เว็บ ยกก้อน แบบไฟล์ zip ปลอดภัย 100% หน้าตาเว็บไชต์ แก้ไขเทมเพลต ปรับแต่งอย่างไร ก็จะได้กลับคืนมาเช่นเดิม

3.อัพโหลดไฟล์เว็บ แบบยกก้อนไฟล์ zip ขึ้นสู่โฮสใหม่ ด้วย FTP จากนั้น ล็อตอินเข้าสู่ DirectAdmin ของโฮสใหม่ โดยเข้าไปเมนู file manager/โฟลเดอร์ public/จะเจอชื่อโฟล์เดอร์ move.zip ทำการ Extract Files
Ads-bygoogle